หลักและวิธีเลือกรถเข็นวีลแชร์..กับข้อปฏิบัติการใช้งาน ใช้อย่างไรให้ปลอดภัยและคุ้มค่า
นอกจากการมีวิธีเลือกรถเข็นวีลแชร์ที่เหมาะสมแล้ว กระบวนการฝึกทักษะการใช้รวมทั้งการดูแลรักษาอุปกรณ์ก็มีความ สำคัญไม่น้อยไปกว่ากัน ซึ่งผู้ป่วย คนพิการ หรือคนชรารวมทั้งผู้ช่วยเหลือควรเรียนรู้วิธีการเข็นรถวีลเแชร์ในพื้นที่ต่างๆ การเคลื่อนย้ายตัวเข้า-ออก และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าให้ผ่านไปได้ เพื่อป้องกันอาการแผลกดทับและการดูแลรักษารถเข็นให้ใช้งานได้นานที่สุด ทั้งนี้ก็เพื่อให้มั่นใจว่าผู้ใช้จะมีวิธีเลือกรถเข็นวีลแชร์สำหรับใช้งานได้อย่างปลอดภัย หากเป็น ผู้ป่วยก็จะต้องไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนใดๆ วิธีเลือกรถเข็นวีลแชร์ ซึ่งปัจจุบันมีให้เลือกมากมาย แต่ก็ควรเลือกให้เหมาะสมของการใช้งานในแต่ละบุคคล
เมื่อไหร่จึงจำเป็นต้องมองหาวิธีเลือกรถเข็นวีลแชร์
การมองหาวิธีเลือกรถเข็นวีลแชร์สำหรับการใช้งานนั้น ก็จำเป็นที่จะต้องใช้เมื่อสภาพร่างกายไม่เอื้ออำนวยให้เดินได้ ซึ่งจะต้องยอมรับว่า วิธีเลือกรถเข็นวีลแชร์ให้เหมาะกับตัวเองนั้นมีความจำเป็นต่อชีวิตมากแค่ไหน อาจเป็นปัจจัยที่5 ที่จะช่วยทำให้ผู้ใช้สามารถไปไหน-มาไหน ได้เหมือนคนอื่น บางคนพอมีกำลังขา ก็อาจใช้การเดินโดยการใช้ประกบขาและไม้ค้ำยัน บางคนเลือกเดินเพียงระยะสั้น หรือบางคนจะใช้วิธีเลือกรถเข็นวีลแชร์เมื่อต้องไปไหนไกลๆ เพื่อช่วยทุ่นแรง ซึ่งสามารถเลือกรถเข็นวีลแชร์ได้ตามความเหมาะสม โดยอาจให้แพทย์ หรือนักกายภาพบำบัด เป็นผู้ช่วยให้คำแนะนำในการเลือกรถเข็นให้เหมาะสมกับการใช้งาน
วิธีเลือกรถเข็นวีลแชร์….เลือกไงดีล่ะ ???
วิธีเลือกรถเข็นวีลแชร์ จะต้องเลือกแบบที่มีขนาดพอดีตัวผู้ใช้แบบที่ไม่ใหญ่ ไม่เล็กเกินไป และมีช่องว่างข้างลำตัวประมาณข้างละหนึ่งนิ้ว ระดับที่รองนั่งไม่สูงหรือต่ำมากเกินไป เมื่อทิ้งแขนลงข้างตัว ก็พยายามงอศอกประมาณ 30-45 องศาแล้ว เอามือวางอยู่ที่จุดสูงสุดของล้อลองดูว่าถนัดไหม?? วิธีเลือกรถเข็นวีลแชร์ จะต้องเลือกแบบที่มีน้ำหนักเบา มีความคล่องตัวเวลาใช้งาน และการเคลื่อนย้ายที่สะดวกที่สุด หากต้องเดินทางบ่อยๆ การมองหาวิธีเลือกรถเข็นวีลแชร์ ควรเลือกแบบที่พับได้ และประกอบง่าย อีกทั้งมีความมั่นคง ไม่ล้มหรือหงายหลังง่าย และมีตัวยันกันหงายหลัง หากมีงบไม่มากพอ ก็ต้องเลือกแบบที่ราคาไม่แพงมาก แต่จะต้องมีความคงทน ไม่ชำรุดง่าย และสามารถซ่อมหรือหาอะไหล่รถเข็นวีลแชร์ได้ง่าย วิธีเลือกรถเข็นวีลแชร์ จะต้องเลือกแบบที่ปรับขนาดได้ตามความเหมาะสม พนักพิงจะต้องสามารถปรับเอียงได้ หรือปรับที่นั่งให้เอียงได้ สามารถพับหรือถอดที่รองแขนออกได้ เปลี่ยนตำแหน่งดุมล้อหลังได้ ปรับระดับที่รองเท้าได้ พับได้ และถอดล้อได้
หลักวิธีเลือกรถเข็นวีลแชร์
วิธีเลือกรถเข็นวีลแชร์ให้เหมาะสมกับการใช้งาน จะต้องดูว่า ผู้ใช้มีกำลังกล้ามเนื้อแขนและมือ มากน้อยแค่ไหน?? เพราะจะต้องใช้กำลังแขนในการหมุนล้อรถเข็นวีลแชร์ให้เคลื่อนที่ได้ การทรงตัวเมื่อนั่งแล้วจะเป็นเช่นไร และจะนำไปใช้งานประเภทใด อีกทั้งดูที่กำลังทรัพย์ที่มีอยู่ด้วย ซึ่งวิธีเลือกรถเข็นวีลแชร์นั้น จะมีทั้งแบบธรรมดา หรือ ปรับเอนหรือสามารถทำการปรับเพื่อทำให้ยืนได้สะดวก ซึ่งจะมีคุณสมบัติแตกต่างกันไป ที่สำคัญจะต้องสามารถพับเก็บไปและมีน้ำหนักเบาเป็นพิเศษ แต่คุณสมบัติหลักของแต่ละแบบอาจจะเหมือนกันคือ สามารถจับและใช้กำลังแขนหมุนให้เคลื่อนที่ไป-มาได้ ซึ่ง เหมาะสำหรับผู้มีกำลังแขน แต่ขาอ่อนกำลังและไม่สามารถขยับได้
สำหรับวิธีเลือกรถเข็นวีลแชร์ที่ไม่มีพนักแขน นั้นเป็นการเลือกเพื่อความสะดวกในการเคลื่อนที่ และเหมาะสำหรับ ผู้มีกำลังแขน และลำตัวแข็งแรง ส่วนรถเข็นวีลแชร์แบบมีพนักแขนจะสามารถ พบเห็นได้บ่อยที่สุด ซึ่งเหมาะสำหรับ ผู้มีกำลังแขน แต่ลำตัวอาจไม่ค่อยมีแรง
วิธีเลือกรถเข็นวีลแชร์สำหรับกีฬา
วิธีเลือก”รถเข็นวีลแชร์” ถูกออกแบบเป็นพิเศษสำหรับนักกีฬาเพื่อใช้ในการแข่งกีฬาของคนพิการ ไม่ว่าจะเป็น รถเข็นววีลแชร์แบบสามล้อ สำหรับกรีฑา หรือวีลแชร์สำหรับเล่น บาสเก็ตบอล
วิธีเลือกรถเข็นวีลแชร์ แบบไฟฟ้า
วิธีเลือกรถเข็นวีลแชร์แบบไฟฟ้า มีหลายแบบให้เลือก สามารถเลือกแบบที่เคลื่อนที่ในแนวราบ หรือ สามารถเคลื่อนที่เพื่อยืนได้แบบสะดวก ซึ่งจะเหมาะสำหรับคนชรา ผู้ป่วย หรือ ผู้พิการ
วิธีเลือกรถเข็นวีลแชร์และข้อปฏิบัติเมื่อใช้รถเข็น
นอกจากจะมองหาวิธีเลือกรถเข็นวีลแชร์เพื่อการใช้งานที่เหมาะสมกับตัวเองแล้ว ผู้ใช้หรือคนในบ้าน จะต้องหมั่นทำความสะอาดเบาะรองนั่งและปลอกหุ้ม หากมีการทรงตัวไม่ดี ควรใช้สายคาดลำตัว แต่หากขาทั้งสองข้างชนกัน เกร็งหนีบเวลาใช้งาน ควรใช้แถบผ้าพันรั้งขาทั้งสองข้างให้กางออก หรือใช้หมอนกั้นไว้ อย่าลืมหลีกเลี่ยงการนั่งยกเข่าสูงกว่าตะโพก หรือ นั่งไขว่ห้าง การสวมถุงเท้า รองเท้า ควรทำทุกครั้งเมื่อนั่งรถเข็นออกไปนอกบ้าน และควรวางเท้าบนรองเท้าเพื่อ ไม่ให้หล่นตรงร่องกลางลงมาลากกับพื้น แต่หากเท้าบวมหลังจากที่นั่งรถเข็นวีลแชร์แล้ว ควรยกเท้าขึ้นมาพาดบนเก้าอี้หรือเตียงเป็นครั้งคราว อย่าลืมล็อคล้อรถเข็น ก่อนย้ายตัวขึ้น-ลง และหมั่นทำความสะอาดล้อทุก 1-2 สัปดาห์ เป็นอย่างน้อย แต่หากกล้ามเนื้อแขนและลำตัวไม่แข็งแรง ที่สำคัญคือควรใช้ไม้แผ่นรองช่วยในการย้ายตัว ผู้ป่วยที่ไม่สามารถเดินได้ ไม่ควรนั่งอาบน้ำบนรถเข็นที่ไม่กันสนิม และควรหยอดน้ำมันหล่อลื่นตามข้อต่อเป็นประจำ หากวีลแชร์เป็นล้อยางก็อย่าลืมสูบลมยางเป็นประจำ เพราะไม่ควรปล่อยให้ยางแบน ฯลฯ
ดังนั้นไม่ว่าจะเป็นใครก็ตามที่ต้องหาวิธีเลือกรถเข็นวีลแชร์ หรือแบบวีลแชร์ไฟฟ้า ควรปฏิบัติ เป็นประจำคือ อย่าใช้สิ่งเหล่านี้เป็นเครื่องทุ่นแรงตลอด แต่ควรออกกำลังกายและควรหมั่นทำกายภาพบำบัดด้วย เพื่อร่างกายและกล้ามเนื้อที่แข็งแรง จะได้กลับมาเป็นปกติอีกครั้ง